วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์



ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

 ครือข่ายที่ทำงานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรียกว่า  Workgroup  เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันจะเป็นเครือข่ายขององค์กร จะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ สามารถประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง
อ่านต่อ...


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก คือเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆในเครือข่าย จะใช้สื่อที่เป็นสายเคเบิลหรือสื่อไร้สาย
อ่านต่อ...



หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บริดจ์ (Bridge)เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments)
เราเตอร์ (Router)เป็นอุปรณ์ที่ทำหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล
สวิตซ์ (Switch)คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทำหน้าที่ในเรเยอร์ที่ 2 


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


การสื่อสารข้อมูล 
กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
อ่านต่อ...



หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งโดยอาศัยสื่อหรือเครื่องมือต่างๆเป็นช่องทางในการสื่อสาร เช่น การสื่อสารด้วยท่าทาง ถ้อยคำ สัญลักษณ์ ภาพวาด จดหมาย โทรเลข เป็นต้น 



หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน


การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน

โดยปกติแล้วเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลาย ๆ วิธี ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของการสั่งซื้อโดยตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้ตัวอย่างทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้ 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน


ซอฟแวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน



ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)


ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ โปรแกรมควบคุมและประสานการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ...

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์

เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การทำงานของคนทำงานได้ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  ซึ่งถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมีเพียงเฉพาะตัวอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์อยู่เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถทำงานได้เป็นได้เพียงวัตถุชิ้นหนึ่งเท่านั้น ธิ์

วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการการเลือกใช้คอมพิวเตอร์


ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์

การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้แบ่งออกได้เป็น ๓ กลุ่มคือ
๑.กลุ่มที่เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมียี่ห้อ 
๒.กลุ่มที่เลือกซื้อเครื่องสั่งประกอบตามร้านคอมพิวเตอร์
๓.กลุ่มที่เลือกซื้ออุปกรณ์มาเป็นชิ้นๆ แล้วนำมาประกอบเองที่บ้าน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการการเลือกใช้คอมพิวเตอร์


หลักการเลือกคอมพิวเตอร์

การสำรวจราคา

เมื่อผู้ใช้กำหนดคุณลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ตรงตามความต้องการ
การสำรวจบริการหลังการขาย
โดยดูระยะเวลารับประกันของอุปกรณ์ต่างๆ และการให้บริการหลังการขาย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการการเลือกใช้คอมพิวเตอร์


องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
อาศัยองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ ดังนี้
)หน่วยรับข้อมูล (input unit) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูลจากอุปกรณ์ต่างๆ
๒)หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit : CPU) ซีพียูเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์
๓)หน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูล

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการการเลือกใช้คอมพิวเตอร์

การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ปฎิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมที่ตั้งไว้สำหรับการทำงานของคอมพิวเตอร์จะมีขึ้นตอนการทำงานพื้นฐาน ๔ ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ ๑ รับข้อมูล (input) เป็นการนำข้อมูลหรือคำสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นที่ ๒ ประมวลผลข้อมูล (process) เป็นการนำข้อมูลมาประมวลผลตามชุดคำสั่ง

 อ่านต่อ...


Delcious Icecream